มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Chiangmai Rajabhat University
:: University :: มหาวิทยาลัย :: รัฐบาล
เธซเธเนเธฒ 1 เธเธฒเธ 1
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ Chiangmai Rajabhat University
เวบมหาวิทยาลัย http://www.cmru.ac.th/
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 202 ถนนช้างเผือก ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จ.เชียงใหม่ ในเขตนครเทศบาลเชียงใหม่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 132 ไร่ และมีไร่ฝึกหัดงานเกษตรที่อำเภอแม่ริมอีกประมาณ 50 ไร่ มีพื้นที่โครงการอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็นที่ตั้งของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ณ ตำบลสะลวงขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 5,800 ไร่มีนักศึกษาภาคปกติประมาณ 6,000 คน มีนักศึกษาภาคพิเศษประมาณ 6,000 คน อาจารย์ประมาณ 350 คน จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรการศึกษา ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ บริหารธุรกิจบัญชี และนิติศาสตร์และจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและการพัฒนาท้องถิ่น สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู และการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิชาการ ในสาขาวิชาต่างๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครู บุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
ความเป็นมา
พ.ศ.2467
- ก่อตั้งเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรกสิกรรมมณฑลพายัพ ในเนื้อที่ประมาณ 55 ไร่ บริเวณบ้านเวียงบัว (ที่ตั้งปัจจุบัน) ที่ดินนี้ได้มาด้วยเงินรายได้ของรัฐบาลมณฑลพายัพ(โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ) จำนวน 15 ไร่ และเจ้าราชภาติกวงศ์ (คำตัน ณ เชียงใหม่) ยกให้อีก 40 ไร่ ราคาที่ดินรวมทั้งหมดในสมัยนั้นประมาณ 1,318.75 บาท อาคารชุดแรกสิ้นค่าใช้จ่าย 60 บาท เปิดสอนครั้งแรกเมื่อ 19 พฤษภาคม 2467 มีนักเรียน จำนวน 28 คน จากจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน และแม่ฮ่องสอน มีนายชื่น สิโรรส (ป.ป.ก.)เป็นครูใหญ่
พ.ศ.2468
- เปิดสอนหลักสูตรครูมูลกสิกรรม
พ.ศ.2470
- เปลี่ยนหลักสูตรและเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ.2485
- ปรับปรุงเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูสามัญและเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลจังหวัดเชียงใหม่"
พ.ศ.2490
- เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" เริ่มใช้สีดำ-เหลือง และพระพิฆเนศวรเป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน
พ.ศ.2496
- จัดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) เป็นรุ่นแรก
พ.ศ.2498
- เริ่มใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) เป็นปีแรก
พ.ศ.2499
- รวมแผนกฝึกหัดครูสตรีของโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเชียงใหม่ (เดิมอยู่ที่โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ) เป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" เริ่มจัดการศึกษาแบบสหศึกษา
พ.ศ.2503
- ยกฐานะเป็นวิทยาลัยครูเชียงใหม่ เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.)สูง
พ.ศ.2512
- เริ่มเปิดสอนภาคนอกเวลา (เดิมเรียก "ภาคค่ำ" ต่อมาเรียน "ภาคสมทบ")
พ.ศ.2517
- เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (ป.อ.) 2 ปี โดยใช้หลักสูตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา (มศว.ปัจจุบัน)
พ.ศ.2518
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ.2518 การบริหารวิทยาลัยครูขึ้นอยู่กับสภาการฝึกหัดครู
พ.ศ.2519
- ใช้หลักสูตรการฝึกหัดของสภาการฝึกหัดครู พ.ศ.2519 มีหลักสูตร ป.กศ.สูง และปริญญาตรี (ค.บ. 2 ปี)
พ.ศ.2522
- เริ่มโครงการฝึกอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการ (อ.ค.ป.) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 2 ปี)
พ.ศ.2526
- เริ่มเปิดสอนวิชาเอกการสหกรณ์และวิชาเอกเทคนิคการอาชีพในระดับ ป.กศ.สูง
พ.ศ.2528
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2528 จัดการศึกษาในสาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
พ.ศ.2529
- เริ่มโครงการจัดการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ (กศ.บป.) ทุกสาขาอาชีพเข้ารับการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพในการปฏิบัติการ และเพิ่มวุฒิของบุคลากรประจำการ
รวมวิทยาลัยครูภาคเหนือตอนบน คือวิทยาลัยครูเชียงใหม่ เชียงราย ลำปางและอุตรดิตถ์ เข้าด้วยกันเป็นสหวิทยาลัยล้านนา เพื่อให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกัน ในการพัฒนาบทบาทและความรับผิดชอบให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่สมบูรณ์
พ.ศ.2535
- เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามวิทยาลัยครูเป็น "สถาบันราชภัฎ" ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535
พ.ศ.2538
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 ให้สถาบันราชภัฏเป็น สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงทำการวิจัยให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู
พ.ศ.2541
- จัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัย และการพัฒนาท้องถิ่น หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ต่อมาได้เปิดหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา สาขาหลักสูตรและการสอน สาขาเทคโนโลยีการศึกษา
พ.ศ.2547
- จัดตั้งวิทยาเขตแม่ฮ่องสอน ณ ตำบลปางหมู อำเภอแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน บนเนื้อที่ 109 ไร่ 6 ตารางวา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547 อันมีผลให้สถาบันราชภัฏเชียงใหม่เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมีสภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลื้ม ยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน
และในวันที่ 14 มิถุนายน 2547 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 ได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นชาวราชภัฏ 41 แห่ง จึงร่วมใจพิธีถวายราชสดุดี เฉลิมฉลอง "มหาวิทยาลัยราชภัฎ" พร้อมกันในวันอังคารที่ 15 มิถุนายน 2547 เวลา 09.09 น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 202 ถนนช้างเผือก ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จ.เชียงใหม่ ในเขตนครเทศบาลเชียงใหม่ มีเนื้อที่ทั้งหมด 132 ไร่ และมีไร่ฝึกหัดงานเกษตรที่อำเภอแม่ริมอีกประมาณ 50 ไร่ มีพื้นที่โครงการอุทยานการศึกษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็นที่ตั้งของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ณ ตำบลสะลวงขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 5,800 ไร่มีนักศึกษาภาคปกติประมาณ 6,000 คน มีนักศึกษาภาคพิเศษประมาณ 6,000 คน อาจารย์ประมาณ 350 คน จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรการศึกษา ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ บริหารธุรกิจบัญชี และนิติศาสตร์และจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและการพัฒนาท้องถิ่น สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู และการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิชาการ ในสาขาวิชาต่างๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครู บุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
ความเป็นมา
พ.ศ.2467
- ก่อตั้งเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรกสิกรรมมณฑลพายัพ ในเนื้อที่ประมาณ 55 ไร่ บริเวณบ้านเวียงบัว (ที่ตั้งปัจจุบัน) ที่ดินนี้ได้มาด้วยเงินรายได้ของรัฐบาลมณฑลพายัพ(โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ) จำนวน 15 ไร่ และเจ้าราชภาติกวงศ์ (คำตัน ณ เชียงใหม่) ยกให้อีก 40 ไร่ ราคาที่ดินรวมทั้งหมดในสมัยนั้นประมาณ 1,318.75 บาท อาคารชุดแรกสิ้นค่าใช้จ่าย 60 บาท เปิดสอนครั้งแรกเมื่อ 19 พฤษภาคม 2467 มีนักเรียน จำนวน 28 คน จากจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน และแม่ฮ่องสอน มีนายชื่น สิโรรส (ป.ป.ก.)เป็นครูใหญ่
พ.ศ.2468
- เปิดสอนหลักสูตรครูมูลกสิกรรม
พ.ศ.2470
- เปลี่ยนหลักสูตรและเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ.2485
- ปรับปรุงเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูสามัญและเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลจังหวัดเชียงใหม่"
พ.ศ.2490
- เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" เริ่มใช้สีดำ-เหลือง และพระพิฆเนศวรเป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน
พ.ศ.2496
- จัดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) เป็นรุ่นแรก
พ.ศ.2498
- เริ่มใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) เป็นปีแรก
พ.ศ.2499
- รวมแผนกฝึกหัดครูสตรีของโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดเชียงใหม่ (เดิมอยู่ที่โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ) เป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" เริ่มจัดการศึกษาแบบสหศึกษา
พ.ศ.2503
- ยกฐานะเป็นวิทยาลัยครูเชียงใหม่ เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.)สูง
พ.ศ.2512
- เริ่มเปิดสอนภาคนอกเวลา (เดิมเรียก "ภาคค่ำ" ต่อมาเรียน "ภาคสมทบ")
พ.ศ.2517
- เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (ป.อ.) 2 ปี โดยใช้หลักสูตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา (มศว.ปัจจุบัน)
พ.ศ.2518
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ.2518 การบริหารวิทยาลัยครูขึ้นอยู่กับสภาการฝึกหัดครู
พ.ศ.2519
- ใช้หลักสูตรการฝึกหัดของสภาการฝึกหัดครู พ.ศ.2519 มีหลักสูตร ป.กศ.สูง และปริญญาตรี (ค.บ. 2 ปี)
พ.ศ.2522
- เริ่มโครงการฝึกอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการ (อ.ค.ป.) ระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 2 ปี)
พ.ศ.2526
- เริ่มเปิดสอนวิชาเอกการสหกรณ์และวิชาเอกเทคนิคการอาชีพในระดับ ป.กศ.สูง
พ.ศ.2528
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2528 จัดการศึกษาในสาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์
พ.ศ.2529
- เริ่มโครงการจัดการศึกษาสำหรับบุคลากรประจำการ (กศ.บป.) ทุกสาขาอาชีพเข้ารับการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพในการปฏิบัติการ และเพิ่มวุฒิของบุคลากรประจำการ
รวมวิทยาลัยครูภาคเหนือตอนบน คือวิทยาลัยครูเชียงใหม่ เชียงราย ลำปางและอุตรดิตถ์ เข้าด้วยกันเป็นสหวิทยาลัยล้านนา เพื่อให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกัน ในการพัฒนาบทบาทและความรับผิดชอบให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่สมบูรณ์
พ.ศ.2535
- เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามวิทยาลัยครูเป็น "สถาบันราชภัฎ" ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535
พ.ศ.2538
- ประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 ให้สถาบันราชภัฏเป็น สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงทำการวิจัยให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยีทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู
พ.ศ.2541
- จัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัย และการพัฒนาท้องถิ่น หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ต่อมาได้เปิดหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา สาขาหลักสูตรและการสอน สาขาเทคโนโลยีการศึกษา
พ.ศ.2547
- จัดตั้งวิทยาเขตแม่ฮ่องสอน ณ ตำบลปางหมู อำเภอแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน บนเนื้อที่ 109 ไร่ 6 ตารางวา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547 อันมีผลให้สถาบันราชภัฏเชียงใหม่เปลี่ยนชื่อเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมีสภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลื้ม ยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน
และในวันที่ 14 มิถุนายน 2547 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 ได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นชาวราชภัฏ 41 แห่ง จึงร่วมใจพิธีถวายราชสดุดี เฉลิมฉลอง "มหาวิทยาลัยราชภัฎ" พร้อมกันในวันอังคารที่ 15 มิถุนายน 2547 เวลา 09.09 น.
Similar topics
» ????ิท??????าช?ัฏ?????? Dhonburi Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??าน??????าพ???? Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ะน?? Phranakhon Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ยง??? Chiangrai Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ไพพ?รณ? Rambhaibarni Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??าน??????าพ???? Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ะน?? Phranakhon Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ยง??? Chiangrai Rajabhat University
» ????ิท??????าช?ัฏ??ไพพ?รณ? Rambhaibarni Rajabhat University
:: University :: มหาวิทยาลัย :: รัฐบาล
เธซเธเนเธฒ 1 เธเธฒเธ 1
Permissions in this forum:
เธเธธเธเนเธกเนเธชเธฒเธกเธฒเธฃเธเธเธดเธกเธเนเธเธญเธ